สายเฮลท์ตี้ต้องไม่พลาด เคล็ดลับสุขภาพดีสายเฮลท์ตี้ กิฟฟารีน ออนไลน์ ที่นี่...เราเป็นเจ้าของธุรกิจร่วมกัน
Giffarine by เบญจมาศ
ช้อปเมื่อไรก็ได้ พร้อมสิทธิมากมาย
กิฟฟารีน ออนไลน์
โทร. 0869592829
ไลน์ ไอดี: benjamas_monthip

  0 ชิ้น
โรคความดันโลหิตสูง (Hypertension)
ความดันโลหิตสูง (Hypertension) เป็นภาวะที่ตรวจพบว่ามีความดันโลหิตอยู่ในระดับสูงผิดปกติ คือมากกว่าหรือเท่ากับ 140/90 มิลลิเมตรปรอท ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ เช่น โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง เส้นเลือดแดงใหญ่โป่งพอง ไตวาย เป็นต้น 
ไขมันในเลือดสูง (Hypertension) เกิดจากอะไร
  มากกว่าร้อยละ 90 ไม่มีสาเหตุ มีเพียงส่วนน้อยที่มีสาเหตุ เช่น โรคของต่อมไร้ท่อบางชนิด โรคไต โรคของหลอดเลือดบางประเภท ที่ทำให้ความดันโลหิตสูงได้ ปัจจัยที่ส่งเสริมให้มีความดันโลหิตสูง มีหลายปัจจัย เช่น อายุ เพศ พันธุกรรม เชื้อชาติ ภาวะนํ้าหนักตัวเกินหรือโรคอ้วน และการรับประทานอาหารเค็มจัด เป็นต้น
อาการความดันโลหิตสูงเป็นอย่างไร?
  ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงส่วนใหญ่มักจะไม่แสดงอาการแต่อย่างใด อาจมีอาการปวดมึนท้ายทอย ตึงที่ต้นคอ เวียนศีรษะ บางรายอาจมีอาการปวดศีรษะตุบๆ เหมือนไมเกรน ในผู้ป่วยที่เป็นมานาน อาจมีอาการอ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย ใจสั่น นอนไม่หลับ  และเมื่อมีอาการมากอาจโคมา และเสียชีวิตได้

ความดันโลหิตสูง หากปล่อยไว้นาน ไม่รักษา อาจส่งผลเสียต่อร่างกายดังนี้
  เลือดไปเลี้ยงไตไม่พอ ไตวายเรื้อรัง
  หลอดเลือดหัวใจหนา หัวใจขาดเลือด หัวใจวาย
  หลอดเลือดตีบ โป่งพอง เลือดไปเลี้ยงอวัยวะได้น้อยลง
  มีผลต่อเส้นเลือดที่ไปเลี้ยงจอประสาทตา ทำให้จอประสาทตาเสื่อม
  เป็นสาเหตุของอัมพฤกษ์ อัมพาต
    ความดันโลหิตสูง ภัยเงียบที่ไม่ควรมองข้าม (Hypertension) 
ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงเกินกว่าครึ่งมักจะไม่มีอาการใดๆ จึงเป็นภัยเงียบที่กว่าจะรู้ตัวว่ามีความดันโลหิตสูง ก็เกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงขึ้นแล้ว โดยเฉพาะโรคหลอดเลือดหัวใจตีบทำให้เกิดกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด กล้ามเนื้อหัวใจหนา ภาวะหัวใจวาย ภาวะไตวายเรื้อรัง หลอดเลือดสมองตีบหรือแตกเกิดอัมพฤกษ์ อัมพาตตามมา จนถึงขั้นเสียชีวิตได้
ความดันโลหิตสูงเป็นโรคที่รักษาไม่หาย แต่สามารถควบคุมได้ด้วยการดูแลตนเองอย่างถูกวิธี และรับประทานยาสม่ำเสมอตามแพทย์แนะนำ
    การรักษาความดันโลหิตสูง
การให้ยาลดความดันโลหิตสามารถลดภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากความดันโลหิตสูงได้ นอกจากการรับประทานยาแล้ว ผู้ป่วยควรปรับเปลี่ยนพฤติกรรร่วมด้วย ดังนี้
1. ออกกำลังกาย อย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อย วันละ 15-30 นาที 3-6 วันต่อสัปดาห์ 
2. การควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
3. ลดปริมาณแอลกอฮอล์ให้อยู่ในเกณฑ์เหมาะสม
4. งดบุหรี่
5. ลดเครียด
6. รับประทานอาหารที่มีคุณภาพ โดยการลดอาหารเค็มจัด ลดอาหารมัน เพิ่มผักผลไม้ เน้นอาหารพวกธัญพืช ปลา นมไขมันต่ำ ถั่ว รับประทานอาหารที่มีไขมันอิ่มตัวต่ำ หลีกเลี่ยงเนื้อแดง น้ำตาล เครื่องดื่มที่มีรสหวานจะทำให้ระดับความดันโลหิตลดลงได้
◉ โรคความดันโลหิตสูง (Hypertension) กินอะไรดี?
◉ อาหารเพื่อสุขภาพแนะนำ ทางเลือกหนึ่งที่อาจลดความเสี่ยงในการเกิด โรคความดันโลหิตสูง (Hypertension) ได้...
   เลซิติน   กระเทียม   น้ำมันปลา   ปัณจะ ภูตะ   โคซานอล   นูทรี โฟลิค
◎➢ ทางเลือกหนึ่งที่อาจลดความเสี่ยงในการเกิดโรคความดันโลหิตสูง (Hypertension)ได้...
◉ อาหารเพื่อสุขภาพโรคความดันโลหิตสูง (Hypertension) 

กระเทียม
ลดความดันโลหิต





น้ำมันปลา
ลดระดับไตรกลีเซอร์ไรด์





 เลซิติน
ลดคอเลสเตอรอล





โคซานอล
ลดไขมันเลว เพิ่มไขมันดี 





นูทรี โฟลิค : ลดความเสี่ยงความดันโลหิตสูง





ปัณจะ ภูตะ
ปรับสมดุลในร่างกาย 




          ดูรายละเอียดที่เกี่ยวข้อง
                   คลิก  
           ดูรายละเอียดที่เกี่ยวข้อง
                   คลิก  
           ดูรายละเอียดที่เกี่ยวข้อง
                    คลิก  
           ดูรายละเอียดที่เกี่ยวข้อง
                    คลิก  
   เพื่อการดูแลสุขภาพร่างกายอย่างถูกต้อง และทันเวลาก่อนจะเกิดการเรื้อรังของโรคต่าง ๆ


คุณสามารถแสดงความคิดเห็น/สอบถามข้อมูลได้ค่ะ


หากบทความนี้มีประโยชน์ กรุณาแชร์ต่อ ขอบคุณค่ะ

            
  ส่วนหนึ่งของ ผลิตภัณฑ์กิฟฟารีน
สินค้าขายดี จาก แคตตาล็อก กิฟฟารีน ทั้งหมดกว่า 2,000 รายการ
ผลิตภัณฑ์อาหารเสริมเพื่อสุขภาพและคุณภาพชีวิต


ผลิตภัณฑ์
เพื่อความงาม


ผลิตภัณฑ์
เครื่องสำอาง


ผลิตภัณฑ์
ของใช้ส่วนตัว


ผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่ม


ผลิตภัณฑ์ของใช้
ในครัวเรือน


Facebook
Twitter
Email

Copyright © TonBab Giffarine

ผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์
วันนี้ : 26
เดือนนี้ : 849
ทั้งหมด : 75123