สายเฮลท์ตี้ต้องไม่พลาด เคล็ดลับสุขภาพดีสายเฮลท์ตี้ กิฟฟารีน ออนไลน์ ที่นี่...เราเป็นเจ้าของธุรกิจร่วมกัน
Giffarine by เบญจมาศ
ช้อปเมื่อไรก็ได้ พร้อมสิทธิมากมาย
กิฟฟารีน ออนไลน์
โทร. 0869592829
ไลน์ ไอดี: benjamas_monthip

  0 ชิ้น
โรคกระดูกพรุน
Osteoporosis
รู้หรือไม่…เป็นโรคกระดูกพรุนมีโอกาสเสียชีวิตภายใน 1 ปี
    ขณะนี้ประเทศไทยมีผู้ป่วยโรคกระดูกพรุนมากกว่า 1 ล้านคน และ คนไทยร้อยละ 25 ไม่ทราบว่า โรคกระดูกพรุนรุนแรงถึงขั้นทำให้พิการหรือเสียชีวิตได้

มารู้จักโรคกระดูกพรุนกันเถอะ   
    โรคกระดูกพรุน คือ โรคที่ผู้ป่วยมีมวลกระดูกน้อย โครงสร้างกระดูกเสื่อมโทรมและกระดูกหักง่ายแม้เพียงการล้มเบา ๆ

      ภัยที่น่ากลัวของกระดูกพรุน
โรคกระดูกพรุนเป็นภัยเงียบที่เกิดขึ้นสะสมในร่างกายมานาน โดยที่ผู้ป่วยไม่ทราบ เพราะไม่มีอาการแต่อย่างใด จนกว่าจะเกิดอุบัติเหตุกระดูกหัก จึงทำให้คนจำนวนมากไม่ทราบว่าสภาวะกระดูกของตนเองนั้นบางไปมากน้อยเพียงใดแล้ว และไม่ได้สนใจที่จะดูแลป้องกันภาวะกระดูกพรุนอย่างจริงจัง
     ความเสี่ยงเมื่อกระดูกสะโพกหักจากโรคกระดูกพรุน  
20% มักเสียชีวิตภายใน 1 ปี
30% พิการถาวร      
40% ต้องใช้เครื่องช่วยพยุงในการเดิน
80% ไม่สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้เหมือนก่อนกระดูกหัก
    ปัจจัยเสี่ยงกระดูกพรุน
1. อายุที่เพิ่มมากขึ้น มวลกระดูกจะเปราะบางและแตกหักง่าย
2. การลดระดับของฮอร์โมนเอสโตรเจน (Estrogen) ในเพศหญิงเมื่อเข้าสู่วัยหมดประจำเดือน
3. กรรมพันธุ์ มีประวัติคนในครอบครัวเป็นโรคกระดูกพรุน
4. บริโภคอาหารที่มีแคลเซียมไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
5. การใช้ยากลุ่มยาสเตียรอยด์ ซึ่งรบกวนกระบวนการสร้างกระดูก  
6. ดื่มแอลกอฮอล์ มากกว่า 3 แก้ว/วัน ทำให้มีโอกาสเป็นโรคกระดูกพรุนเร็วขึ้น
7. สูบบุหรี่ สารพิษนิโคตินเป็นตัวทำลายเซลล์สร้างมวลกระดูกทำให้กระดูกบางลง
กระทรวงสาธารณสุข สนใจเรื่องกระดูกหักในผู้สูงวัยจากโรคกระดูกพรุนมาก เพราะหากไม่ได้รับการรักษาอาจนำไปสู่การเสียชีวิตได้ และผู้ป่วยบางราย   ไม่สามารถกลับไปใช้ชีวิตได้ ตามปกติ  ทั้งนี้พบว่าผู้ป่วยภาวะกระดูกพรุน กระดูกจะหักใหม่ทุก ๆ 3 วินาที 
    การป้องกันโรคกระดูกพรุน      
1. รับประทานอาหารที่มีแคลเซียมและวิตามินดีสูง
2. หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่
3. หลีกเลี่ยงแอลกอฮอล์ น้ำอัดลม ชา กาแฟ หรือเครื่องดื่มที่มีสารคาเฟอีน และมีค่าความเป็นกรดสูง
4. ออกกำลังกายสม่ำเสมอ
5. ควบคุมน้ำหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม
6. ระมัดระวังการใช้ยา โดยเฉพาะยากลุ่มสเตียรอยด์ที่ต้องใช้ติดต่อกันเป็นเวลานาน
  แนวทางการรักษามี 2 วิธีคือ
1. รักษาโดยใช้ยา ได้แก่ยาต้านการสลายกระดูก และยากระตุ้นการสร้างกระดูก 
2. บริโภคอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ โดยเฉพาะอาหารที่มีแคลเซียมสูง เสริมวิตามินดี 
  น้ำมันปลา กับ แคลเซียม คือพื้นฐานของการป้องกันกระดูกพรุน
การรับประทาน น้ำมันปลา กับ แคลเซียม สามารถชะลอการสูญเสียกระดูกและเพิ่มความหนาแน่นของกระดูกต้นขาและสันหลังของผู้สูงวัยที่ป่วยเป็นโรคกระดูกพรุนได้

   แคล-ดี-แมก600 กิฟฟารีน ผสม แมกนีเซียม, วิตามิน ซี, สังกะสี, แมงกานีส, ทองแดง, วิตามิน อี และวิตามิน ดี 3 เพื่อช่วยเสริมให้ร่างกายดูดซึมแคลเซียมได้ดี

  น้ำมันปลา มีกรดไขมัน โอเมก้า 3 ซึ่งมีคุณสมบัติในการช่วย ลดอาการอักเสบ อาการตึงแน่น และอาการ ข้อยึด ตอนเช้า ในผู้ที่มีภาวะ ข้อเสื่อม และ ข้ออักเสบรูมาตอยด์
ทานคู่กันทุกมื้อ เพื่อมวลกระดูกแข็งแรง

โรคกระดูกพรุน  กินอะไรดี?

◎➢ ทางเลือกหนึ่งที่อาจลดความเสี่ยงในการเกิดโรคกระดูกพรุนได้...

  แคล-ดี-แมก 600   น้ำมันปลา    คอลลาสติน    ซี มิน ดริ๊งค์     ยูซีทู    เซซามิ-เอส  

◉ อาหารเพื่อสุขภาพโรคกรดไหลย้อน 

แคล-ดี-แมก 600
แคลเซียม  เพิ่มความหนาแน่นให้มวลกระดูก





น้ำมันปลา 
โอเมก้า-3 ลดการอักเสบจากโรคที่เกี่ยวกับกระดูก





คอลลาสติน 
สารสกัดจากเยื่อหุ้มเปลือกไข่ 





 ซี มิน ดริ๊งค์
 แคลเซียมชนิดน้ำ จากสาหร่ายทะเลสีแดง





ยูซีทู   UC-II 
แก้ปัญหาข้อเสื่อม, เข่าเสื่อม





เซซามิ-เอส 
สารเซซามิน ในงาดำ เพิ่มมวลกระดูก




   เพื่อการดูแลสุขภาพร่างกายอย่างถูกต้อง และทันเวลาก่อนจะเกิดการเรื้อรังของโรคต่าง ๆ

        ดูรายละเอียดที่เกี่ยวข้อง

                      คลิก
        ดูรายละเอียดที่เกี่ยวข้อง

                      คลิก
        ดูรายละเอียดที่เกี่ยวข้อง

                     คลิก
คุณสามารถแสดงความคิดเห็น/สอบถามข้อมูลได้ค่ะ

หากชอบบทความนี้ กรุณาแชร์ต่อค่ะ

           
  ส่วนหนึ่งของ ผลิตภัณฑ์กิฟฟารีน
สินค้าขายดี จาก แคตตาล็อก กิฟฟารีน ทั้งหมดกว่า 2,000 รายการ
ผลิตภัณฑ์อาหารเสริมเพื่อสุขภาพและคุณภาพชีวิต


ผลิตภัณฑ์
เพื่อความงาม


ผลิตภัณฑ์
เครื่องสำอาง


ผลิตภัณฑ์
ของใช้ส่วนตัว


ผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่ม


ผลิตภัณฑ์ของใช้
ในครัวเรือน


Facebook
Twitter
Email

Copyright © TonBab Giffarine

ผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์
วันนี้ : 24
เดือนนี้ : 847
ทั้งหมด : 75121