สายเฮลท์ตี้ต้องไม่พลาด เคล็ดลับสุขภาพดีสายเฮลท์ตี้ กิฟฟารีน ออนไลน์ ที่นี่...เราเป็นเจ้าของธุรกิจร่วมกัน
Giffarine by เบญจมาศ
ช้อปเมื่อไรก็ได้ พร้อมสิทธิมากมาย
กิฟฟารีน ออนไลน์
โทร. 0869592829
ไลน์ ไอดี: benjamas_monthip

  0 ชิ้น

โรคกระเพาะอาหาร
Stomach disease

หิวก็ปวด   อิ่มก็ปวด   คนโดยทั่วไป มักสรุปอาการแบบนี้ว่าเป็น “โรคกระเพาะ”   
  โรคกระเพาะอาหาร ต้องได้รับการรักษาอย่างถูกต้องและต่อเนื่อง ไม่เช่นนั้นอาจมีภาวะแทรกซ้อนเลือดออกในกระเพาะอาหาร กระเพาะลำไส้เป็นแผลทะลุได้
    สาเหตุโรคกระเพาะที่พบบ่อย
สาเหตุหลักเกิดจากการเสียสมดุลของกรดในกระเพาะอาหารที่หลั่งออกมามากกว่าปกติจนทำให้ไปทำลายเยื่อบุกระเพาะอาหาร นอกจากนี้มีปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเกิดโรคที่พบบ่อย ได้แก่

◉การติดเชื้อ เอช.ไพโลไร (H.Pylori : Helicobacter pylori) เป็นเชื้อแบคทีเรียชนิดหนึ่งที่ติดต่อจากการรับประทานอาหารและน้ำที่ปนเปื้อนเชื้อเข้าไป  ทำให้กระเพาะอาหารมีการอักเสบเรื้อรัง จนทำลายผนังเยื่อบุกระเพาะอาหารและสำไส้เล็กส่วนต้นและเป็นปัจจัยเสี่ยงในการเกิดโรคมะเร็งกระเพาะอาหารได้อีกด้วย

◉การรับประทานยาต้านการอักเสบหรือยาแก้ปวด เช่น ยาแอสไพริน ยาไอบูโปรเฟน หรือ ยาไดโคลฟีแนค ซึ่งล้วนเป็นตัวยาที่ต้องกินหลังอาหารทันที สร้างความระคายเคืองให้กับเยื่อบุกระเพาะอาหาร ทำให้กรดที่หลั่งจากกระเพาะอาหารกัดกร่อนเยื่อบุกระเพาะอาหารจนเกิดแผล

◉ การรักษาและการดูแลตนเองของผู้ที่เป็นโรคกระเพาะอาหาร
◉ การรับกระทานยาร่วมกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิต
 ได้แก่

➣ รับประทานยาต่อเนื่องตามที่แพทย์กำหนดอย่างเคร่งครัด
➣ ไม่ควรปล่อยให้ท้องว่างมากเกินไป รับประทานอาหารให้ตรงเวลาทุกมื้อ
➣ รับประทานอาหารอ่อน ย่อยง่าย กินช้าๆ
➣ ทุกครั้งที่รับประทานอาหารควรเคี้ยวให้ละเอียด
➣ รับประทานอาหารในปริมาณที่ไม่มากเกินไป
➣ งดบุหรี่ แอลกอฮอล์ ชา กาแฟหรือเครื่องดื่มกาเฟอีน น้ำอัดลม
➣ ควรหลีกเลี่ยงอาหารและเครื่องดื่มที่กระตุ้นให้เกิดอาการปวดท้อง เช่น อาหารรสจัด เผ็ดจัด เปรี้ยวจัด ของหมักดอง เครื่องดื่ม แอลลกอฮอร์ ชา กาแฟ น้ำอัดลม
➣ หลีกเลี่ยงการใช้ยาที่ระคายเคืองกระเพาะอาหาร หลีกเลี่ยงการใช้ยาแอสไพริน ยาต้านอักเสบที่ไม่ใช่เสตอรอยด์ ยาสเตอรอยด์ และปรึกษาแพทย์ทุกครั้งที่ใช้ยา
➣ หลีกเลี่ยงความเครียด ความกังวล พักผ่อนให้เพียงพอ
➣ หมั่นออกกำลังกาย
➣ รับประทานยาลดกรด ยาน้ำ 1 - 2 ช้อนโต๊ะ หรือยาเม็ด 1 - 2 เม็ด (เคี้ยวก่อนกลืน) วันละ 4 ครั้ง เช้า กลางวัน เย็นหลังอาหาร 1 ชั่วโมง และก่อนนอน กรณีมีอาการปวดท้องก่อนเวลายาสามารถรับประทานเพิ่มได้และควรรับประทานยาติดต่อกันนานอย่างน้อย 4 - 8 สัปดาห์

◉ โรคกระเพาะ กินอะไรดี?
  แกสตร้า-เฮิร์บ   สารสกัดจากขมิ้นชัน   สารสกัดจากขิง   สารสกัดจากใบบัวบก   สารสกัดจากกระชาย 
◎➢ ทางเลือกหนึ่งที่อาจลดความเสี่ยงในการเกิดโรคกระเพาะอาหารได้...
◉ อาหารเพื่อสุขภาพโรคกระเพาะอาหาร 

แกสตร้า-เฮิร์บ
GASTRA-HERB





สารสกัดขมิ้นชัน
CURCUMA C-E MAXX





สารสกัดขิง
Ginger-C





สารสกัดจากใบบัวบก
GOTULA C-E





กระชาย-พลัส
Krachai-Plus




   เพื่อการดูแลสุขภาพร่างกายอย่างถูกต้อง และทันเวลาก่อนจะเกิดการเรื้อรังของโรคต่าง ๆ

คุณสามารถแสดงความคิดเห็น/สอบถามข้อมูลได้ที่นี้


หากบทความนี้มีประโยชน์ กรุณาแชร์ต่อค่ะ

              
  ส่วนหนึ่งของ ผลิตภัณฑ์กิฟฟารีน
สินค้าขายดี จาก แคตตาล็อก กิฟฟารีน ทั้งหมดกว่า 2,000 รายการ
ผลิตภัณฑ์อาหารเสริมเพื่อสุขภาพและคุณภาพชีวิต


ผลิตภัณฑ์
เพื่อความงาม


ผลิตภัณฑ์
เครื่องสำอาง


ผลิตภัณฑ์
ของใช้ส่วนตัว


ผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่ม


ผลิตภัณฑ์ของใช้
ในครัวเรือน


Facebook
Twitter
Email

Copyright © TonBab Giffarine

ผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์
วันนี้ : 25
เดือนนี้ : 848
ทั้งหมด : 75122